5 SIMPLE TECHNIQUES FOR สังคมผู้สูงอายุ

5 Simple Techniques For สังคมผู้สูงอายุ

5 Simple Techniques For สังคมผู้สูงอายุ

Blog Article

“เพศแม่คือบุคคลสำคัญในนโยบายนี้ จากทัศนะเดิม ถ้าผู้หญิงคิดจะมีลูกสักคนก็ต้องตริตรองเพื่อเลือกระหว่างการมีบุตร แลกกับการถูกตัดขาดจากตลาดแรงงาน เนื่องจากสังคมยังคาดหวังให้ผู้หญิงรับผิดชอบงานบ้านและงานเลี้ยงดูบุตร ดังนั้น หากเราเชื่อว่าการมีบุตรจะช่วยให้พ่อแม่ในวัยเกษียณมีความสุข รัฐไทยก็ต้องปรับทัศนะ เน้นการให้โอกาสทั้งหญิงและชายในตลาดแรงงานอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น เพราะทั้งสองฝ่ายต้องทำงานและช่วยเหลือกันระหว่างการเลี้ยงดูบุตร เพื่อคุณภาพชีวิตในบั้นปลาย” รศ.ดร.นพพล กล่าว

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

สังคมไทยยังมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันเกี่ยวกับ “คุณค่า” หรือ “ฐานคิด” โดยเฉพาะการออกแบบระบบความคุ้มครองทางสังคม หากสามารถทำให้เกิดข้อสรุปที่ยอมรับร่วมกันจากภาคส่วนต่าง ๆ ก็จะเป็นหัวใจในการกำหนดทิศทางนโยบายได้อย่างราบรื่น ยกตัวอย่างเช่น การดูแลผู้สูงอายุโดยครอบครัวอาจจะเป็นกระแสหลัก โดยบางพื้นที่ชุมชนเข้มแข็งพอที่จะช่วยกันดูแลผู้สูงอายุ แต่สำหรับหลายครอบครัวหรือหลายชุมชนอาจจะไม่เป็นเช่นนั้น การสร้างหลักประกันด้านรายได้ยามชราภาพด้วยระบบบำนาญและการออมก็ขึ้นอยู่กับการให้คุณค่าเช่นกัน เราจะเลือกฐานคิดความรับผิดชอบส่วนบุคคล (เน้นการออมส่วนบุคคล) การช่วยเหลือเกื้อกูลกันหรือหลักภราดรภาพ (ใช้แนวทางการประกันสังคม) แนวคิดสิทธิขั้นพื้นฐาน หรือการสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส แนวนโยบายจะเปลี่ยนแปลงไปตามการกำหนดคุณค่าเหล่านี้

นพ.ภูษิต กล่าวด้วยว่า นอกจากนี้ คือการทำอย่างไรให้ผู้สูงอายุมีรายได้มั่นคงหลังเกษียณอายุ มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีประโยชน์กับสังคม หากเจ็บป่วยก็สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ รวมถึงสวัสดิการสังคมก็ต้องได้รับอย่างเหมาะสม ไม่ใช่ปล่อยให้ถูกทอดทิ้ง หนึ่งในข้อเสนอที่มูลนิธิ ผลักดันคือการขับเคลื่อนสู่สวัสดิการสังคมแบบถ้วนหน้า ที่รัฐบาลต้องมีความชัดเจนและกำหนดเป้าหมายดำเนินการอย่างจริงจัง ไม่เช่นนั้นก็อาจจะถูกปรับเปลี่ยนอย่างเช่นเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุที่ปรากฏเป็นข่าวจะปรับลดจากการให้ถ้วนหน้ามาให้เฉพาะกลุ่มคนยากจน จนเกิดกระแสต่อต้าน ทั้งที่แนวทางปฏิบัติควรจะปรับลดงบประมาณพัฒนาโครงสร้างต่างๆที่ไม่จำเป็น นำมาเพิ่มในเรื่องของการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชากรให้มากขึ้น

บทบาทหน้าที่ของลูกหลานจึงจำเป็นสำหรับสังคมผู้สูงอายุไทย นอกจากจะเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีของคนรุ่นลูกรุ่นหลานแล้ว รายได้ของบุตรยังแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลตัวเองของคนรุ่นพ่อแม่ได้ด้วย ที่สำคัญคือ รายได้เหล่านี้จะช่วยคลายความกังวลใจให้แก่ผู้อาวุโสในครอบครัว และย้ำว่าพวกท่านยังมีตัวตนในบ้าน มีลูกหลานคอยเอาใจใส่ มีชุมชนเล็ก ๆ สังคมผู้สูงอายุ ในบ้าน โดยมีท่านเป็นผู้อาวุโสในครอบครัวหรือตระกูล ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งของสูตรความสุขตามความหมายเชิงเศรษฐศาสตร์

กลุ่มเลขานุการสภานโยบายและระบบการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

Your membership is now Lively. The latest website posts and web site-relevant bulletins will probably be shipped directly to your e-mail inbox. You may unsubscribe at any time.

We firmly believe that the online market place really should be offered and obtainable to any individual, and therefore are dedicated to giving an internet site that is accessible into the widest attainable audience,

ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อภูมิภาค

สังคม สูงอายุ...แบบสมบูรณ์ คนไทยพร้อมแล้วหรือยัง?

ปัจจัยหลักคงหนีไม่พ้นเรื่องของปัญหาเศรษฐกิจที่ทุกคนต่างต้องเผชิญ ทำให้ความมั่นคงทางการเงินเป็นเรื่องที่ส่งผลต่อการสร้างครอบครัวและการใช้ชีวิตของผู้คนเป็นอย่างมาก รวมถึงค่านิยมของผู้คนในสังคมที่เปลี่ยนไป ทำให้คนไม่อยากมีลูก และมีแนวโน้มว่าผู้สูงวัยจะใช้ชีวิตด้วยการอยู่เพียงลำพังมากขึ้น

คำตอบคือสวัสดิการรัฐ หรือ เพิ่มแรงจูงใจให้มีบุตร?

Report this page